พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
ปรอทกรอ ล้านนา​...
ปรอทกรอ ล้านนา​ < Original​ >
นำมาแบ่งปันกันศึกษา ครับ

ลูกใหญ่สุดเป็นเนื้อออกเหล็ก. เจ้าของเดิมทาสีทองทับ..มาแต่เดิม
ทองพอมีอายุ ครับ

ลูกอื่นเนื้อสำริด ครับ มีถักลวด เปียกทอง ครับ

มีลูกมี แตกครึ่ง ให้ชม ด้วยครับ...

แบ่งปันกันศึกษาครับ.. พบเจอ ลูก ใหญ่ แพร่ ,ลูกเล็ก และ ลูกเปียกทองเชียงใหม่,แตกครึ่งลำพูน. ครับ

ปรอทกรอเครื่องรางเตือนภัยล้านนา

ปรอทกรอล้านนา หรือ ทางเหนือเรียกกว่า "หน่วยบะป่อย"นั้นเป็นหนึ่งในเครื่องรางล้านนาที่ถือได้ว่าเป็นยอดเครื่องราง​ อันทรงค่าหายาก พบเจอได้น้อยชิ้น

มีทั้งความเชื่อ​ ในทางด้าน​ ศาสนา​
และความเชื่อทางด้าน​ กลยุทธ์​ การศึก​สงคราม​โบราณ​

ความเชื่อในด้าน​ศาสนา​

สมัยโบราณนั้นก็คือการสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสิ่งยึดเหนี่ยว​ จิตใจ​ เชื่อกันว่า​ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์​ สิงสถิต​อยู่ในนั้น​ ใช้ฝัง​ ต้านฐานอุโบสถ​ หรือ​ ศาสนสถาน​ สถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา​
เชื่อในเรื่อง​ป้องกันสิ่งชั่วร้ายและสิ่งอัปมงคลทั้งปวง รวมถึงโจรผู้ร้ายที่คิดจะมาขโมยของในวัดเมื่อมีขโมยหรือสิ่งผิดปกติเข้ามาปรอทกรอก็จะส่งเสียงดัง...

ความเชื่อด้าน​ กลยุทธ์​ ทางการศึกการสงคราม​

อีกในหนึ่ง​ จุดประสงค์​ คนโบราณ​ การจัดสร้าง​

ปรอทกรอ​ มักใช้ในกลศึก​ เป็น​ เครื่องมือ​ หรือ​ เครื่อง​ราง​เตือนภัย​ ในยุคสงคราม​ ปรอทกรอจะทำหน้าที่​ "สั่น​ " เมื่อมีภัยเข้ามาประชิด​

ปรอทกรอ​ สั่นสะเทือน​ได้ไหลลื่นเสียงดังยาว​ แปลว่า : ข้าศึกมีจำนวนค่อนข้างเยอะ​ และเข้าประชิดใกล้เข้ามามาก

ปรอทกรอสั่นเสียง​ไม่ดังมาก​ แปล​ว่า​: ข้าศึกมีจำนวนค่อนข้างน้อย​ และอยู่​ไกล
เพื่อเป็น​สัญญาณ​ เตือนภัย​ ว่าข้าศึกมีจำนวนมากหรือน้อย​ หรือ​อยู่ไกลหรือใกล้.. นั่นเองครับ

จากคำบอกเล่า​ จากชาวบ้าน, ผู้เฒ่าผู้แก่​ ชาวล้านนา​ และ หลากหลายสถานที่

หยิบยก​มาเขียน​มาเพื่อเล่าสู่กันฟัง​ กันน่ะครับ..

ปรอทกรอ​ภายในลูกปรอทกรอนั้นว่ากันว่าเป็นของวิเศษกายสิทธิ์จำพวกเหล็กไหล หรือปรอทเรียก หรือ ปรอทสำเร็จ ที่พระอาจารย์ผู้เรืองวิทยาคมได้เอาเป็นส่วนผสมของลูกกลมเล็กๆด้านในปรอทกรอ โดยนำเอามาหุงและหล่อเป็นลูกปรอทกายสิทธิ์ ฉะนั้นเวลาเขย่าปรอทกรอจะมีเสียงคล้ายมีกริ่งอยู่ข้างในปรอทกรอนั่นก็คือลูกกลมเล็กๆที่ว่านี่เอง...

สำหรับที่ค้นพบปรอทกรอนั้น​ ส่วนมากจะพบเป็นเคยเป็นบริเวณวัดเก่า หรือ ที่คนทางเหนือล้านนาเรียกว่า วัดร้าง หรือ วัดห่าง หรือ​ เมืองเก่า​ ที่รกร้าง ศาสนสถาน​ที่สำคั​ญ​..
บ้างจะพบโดยบังเอิญจากการขุดพบจากการขุดที่
ถมที่, ทำการเกษตร​บ้าง, บ้างก็ฝนตกหลายวัน​ ตกหนักๆๆ​ ซะล้างหน้าดินเปิด​ ก็จะพบเจอ​อะไรแนวนี้ครับผม​..
การพบเจอก็​ผ่านกาลเวลา​ ร่วม​ หลายสิบปี​ ที่เจ้าของ​พบเจอมา
และบางท่านก็ได้รับเป็นมรดกตกทอดมาจากปู่ย่าตายาย​ เก็บบูชา​ ​ สืบทอด​ กันมา​จากรุ่นสู่รุ่น จนถึง​ปัจจุบัน​นี้​

อ่า​ ^^^อ่าน พอสนุก​ นะครับ.​ ​^^^

ปัจจัย​ เหล่านี้​ บ่งบอกถึง​ การสร้าง​ ได้เป็น​อย่างดี..

ยุคสมัย​ ที่พบเจอ​ ปรอทกรอ..

– สมัยก่อนสุโขทัย ( ราวพุทธศตวรรษที่ 12 – พุทธศตวรรษที่ 17 )
– สมัยสุโขทัย พ.ศ.1792 – พ.ศ.2006
– สมัยอยุธยา พ.ศ.1893 – 2310
– สมัยธนบุรี พ.ศ.2310 – 2325
– สมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ.2325 ถึงปัจจุบัน

วิธีการใช้ : ใช้ห้อยคอหรือ พกพาติดตัว(ไม่ควรต่ำกว่าระดับเอว) ใส่พานบูชา หิ้งพระ​ หรือ บรรจุบนหัวเสาเรือน

อาณุภาพ : คนสมัยก่อนเชื่อกันว่าปรอทกรอจะนำความร่มเย็นเป็นสุขมาให้ และป้องกันสิ่งอัปมงคลทั้งปวง เตือนเมื่อมีภัย บูชาไว้เป็นสิริมงคลให้ลาภ และคุ้มกันบ้านเรือนและผู้อาศัย เพื่อป้องกันสิ่งชั่วร้ายและสิ่งอัปมงคลทั้งปวง..

(ยกตัวอย่าง)

เมืองโบราณ​ เช่น เมืองหอดโบราณ ตั้ง​ อยู่​ อ.ฮอด​ ​จ.เชียงใหม่​ ตั้งอยู่​ หัวเมืองด้านนอก
ซึ่ง​ ตั้งอยู่​ ไกล​ จาก​ ตัวอำเภอ​ ถึง​ 90​ กม.​
ยิ่งสมัยก่อน​ การคมนาคม​ การเดินทางก็​ ค่อนข้างที่จะลำบาก​ เดินด้วยเท้าบ้าง​, เดินทางด้วยม้าบ้าง​, เดินทางด้วยช้างบ้าง​ การเดินทาง​ค่อนข้างลำบาก​ อะไรประมาณ​นี้​ น่ะครับ... ยิ่งหัวเมืองห่างไกล​ ก็ต้องมีความเจริญ​ ที่น้อยกว่า​ ในเมือง​....
การสร้างปรอทกรอ​ ทั้งวัสดุก่อสร้าง​ หรือ​ ระบบกลไก​
ก็​ จะได้​ ตามนี้​ ..

เราหยิบยกตัวอย่าง​ มา​ แบบ​ เรียบง่าย​ เข้าใจ​ ได้พอสังเขป...

ปรอทกรอ​ มีระบบ​ และ ปรอท​กรอ​แบบไม่มีระบบ​ ต่างกันยังไง

วัดหลายวัด คนโบราณ เชื่อกันว่าหนึ่งวัดได้บรรจุของวิเศษแทนคนรักษาวัดวาอารามของวิเศษนี้ชื่อว่า "ปรอทกรอ" บรรจุไว้ใต้ฐานวิหาร หรือ อุโบสถ "วัดละหนึ่งลูกเท่านั้น" อันนี้พิเศษ​ หน่อย​ ถ้าเป็น​ "วัดหลวง​" วัดที่มีขนาดใหญ่​ ก็จะมีด้วยกัน​ 4​ ลูก​, 6ลูก​ ด้วยกัน​ ครับผม..หรือศาสนสถาน​ ที่สำคัญ​ทางศาสนา​ แต่ละสถานที่​ มีฝัง​ ไม่สามารถ​ ระบุได้​ ว่ามี​ กี่ลูก..
เพราะว่า​ บางหัวเมืองที่ห่างไกล​ , บางเมืองใกล้ บางเมือง​ เล็ก​, ใหญ่​ ไม่เท่ากัน​ ขึ้นอยู่กับ​ นี้ปัจจัย​ เหล่านี้ด้วย....

คนสมัยโบราณทางด้าน​ ศาสนา​ เชื่อกันว่ามีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกป้อง
เช่น​ เทพ, เทพารักษ์​, เทวดา​, เหล็กไหล, ปรอทสำเร็จ, บ้างก็เล่ากันนั่นนี่​ หลากหลาย​ ต่างๆ​ นานา​...
จนผม​ ผู้เขียน​ ถ้าเขียน​ไป​ เดี๋ยว​หาว่า over​ ไปป่ะ​ 555..
เอาเป็นว่า​ เชื่อว่า​ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์​ ในปรอกรอ​ นั้น​ น่ะครับ

คนโบราณจึงเชื่อกันว่ามีสิ่งวิเศษของดีปกป้องภัย เช่น กันภูตผีปีศาจร้าย กันขโมย สร้างความร่มเย็นเป็นสุขแก่ศัทธาลูกวัด ตามความเชื่อแต่ครั้งโบราณ เป็นต้น
สันนิษฐานว่าน่าเป็น "ของวิเศษใช้ปกป้องคุ้มครองภัย"

วัสดุที่พบเจอ​ แบ่งเป็นแต่ละชนิดๆ ดังนี้

1. ปรอทกรอทองคำ
2.ปรอทกรอเนื้อเงิน
3.ปรอทกรอสำริดแก่ทองคำ
4.ปรอทกรอเนื้อสำริด
5.ปรอท​กรอ​เนื้อตะกั่ว
6.ปรอท​กรอเนื้อดินเผา(พบเห็น​น้อยมาก)

และแบ่งเป็นขนาดๆ ที่พบเห็น คือ

1.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 2เซนติเมตร
2.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด1นิ้ว
3.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด1นิ้วครึ่ง
4.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด2นิ้ว
5.เส้นผ่าศูนย์กลาง​ขนาด​ 2นิ้วครึ่ง​(พบเห็นน้อยมาก)

การสร้างปรอทกรอ คนโบราณสร้างกลไกที่สุดยอดที่คนปัจจุบันสร้าง ที่ทำเลียนแบบไม่ได้

ปรอทกรอที่เสียงดังไหลลื่น คือ ปรอทกรอที่ไม่ตายจะมีเสียงดังดีไหลลื่นตลอดเป็นเวลานานๆ ส่วนมากแผ่นการเวลามานานบวกกับสภาพผิวของเมืองหรือวัดบางที่อาจสร้างอยู่ลุ่มน้ำ ทำให้แช่น้ำเป็นเวลานานๆ หรือขึ้นอยู่กับสภาพผิวดินในแต่ละที่ๆ เสียงดังไม่ดี เมืองที่มีความเจริญมาก เช่น "วัดหัวเมือง" ก็จะสร้างปรอกรอ เช่น ปรอทกรอทองคำ รองมาเป็นระดับๆ จนถึงปรอทกรอดินเผาซึ่งพบเห็นน้อยที่สุดมีก็ไม่สมบูรณ์ ข้อมูลความรู้จากนักสะสมของเก่า​ และชาวบ้าน​ คนเฒ่าคนแก่ในพื้นที่​ ชาวล้านนา.. นำมาเล่าสู่กัน​ฟัง​

ปรอทกรอเป็นเครื่องรางของขลังยุคโบราณที่หายากมากชนิดหนึ่งมีสร้างขึ้นตั้งแต่​ หลายยุคสมัย​ อีกทั้งยังถือเป็นยุทธโธปกรณ์ทางการทหารในสมัยโบราณ​ และความเชื่อทางด้านศาสนา​ อีกด้วย

ปัจจุบันเป็นเครื่องราง"เตือนภัย" แก่ผู้เป็นเจ้าของ และป้องกันสิ่งชั่วร้ายสิ่งอัปมงคลต่างๆ ทั้งยังเด่นด้านเมตตา​มหา​นิยม​และนำโชคลาภความร่มเย็นเป็นสุขแก่ผู้ครอบครอง

ปล.ชิ้นนี้​ ได้มีผู้ศรัทธา​แบ่งไปบูชาแล้วครับ
เราหยิบ​ยกมา​หวังว่า​ ท่านผู้อ่านจะได้ประโยชน์​ไม่มากก็น้อยครับ​

"รูปภาพ"​ หรือ​ "บทความ​" นี้ทาง​ร้าน​ไม่​อนุญาติ​ให้​นำไปใช้​โดย​ "พลการ​"

บทความนี้​ เราหยิบยก​ มาเล่าเรื่อง​ แชร์​ ประสบการณ์​
เพียงแค่​ บางส่วน​ เอาไว้​ โอกาสหน้า​ เราจะมาแชร์​ให้ใหม่ครับ

ผู้เขียน​ และ​ ค้นคว้าข้อมูล
ตู่​ สาละ​วิน

ผู้เข้าชม
8971 ครั้ง
ราคา
Tou​ Salawin​
สถานะ
โชว์พระ
โดย
ชื่อร้าน
ตู่ สาละวิน
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
0869210443
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารทหารไทย / 322-2-62235-3

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
ma_a_auพรคุณพระ99โจ้ ลำนารายณ์นรินทร์ ทัพไทยพีพีพระเครื่องเปียโน
Le29Amuletยอด วัดโพธิ์TotoTatoแหลมร่มโพธิ์kaew กจ.tplas
ชา วานิชstp253ชยันโตโกหมูโจ๊ก ป่าแดงเจนพระเครือง
trairatบ้านพระสมเด็จrutchawanstumlawyerep8600พรหมยาน
เจริญสุขJO RAYONG แมวดำ99digitalplusนานาgofubon

ผู้เข้าชมขณะนี้ 558 คน

เพิ่มข้อมูล

ปรอทกรอ ล้านนา​ < Original​ >




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
ปรอทกรอ ล้านนา​ < Original​ >
รายละเอียด
นำมาแบ่งปันกันศึกษา ครับ

ลูกใหญ่สุดเป็นเนื้อออกเหล็ก. เจ้าของเดิมทาสีทองทับ..มาแต่เดิม
ทองพอมีอายุ ครับ

ลูกอื่นเนื้อสำริด ครับ มีถักลวด เปียกทอง ครับ

มีลูกมี แตกครึ่ง ให้ชม ด้วยครับ...

แบ่งปันกันศึกษาครับ.. พบเจอ ลูก ใหญ่ แพร่ ,ลูกเล็ก และ ลูกเปียกทองเชียงใหม่,แตกครึ่งลำพูน. ครับ

ปรอทกรอเครื่องรางเตือนภัยล้านนา

ปรอทกรอล้านนา หรือ ทางเหนือเรียกกว่า "หน่วยบะป่อย"นั้นเป็นหนึ่งในเครื่องรางล้านนาที่ถือได้ว่าเป็นยอดเครื่องราง​ อันทรงค่าหายาก พบเจอได้น้อยชิ้น

มีทั้งความเชื่อ​ ในทางด้าน​ ศาสนา​
และความเชื่อทางด้าน​ กลยุทธ์​ การศึก​สงคราม​โบราณ​

ความเชื่อในด้าน​ศาสนา​

สมัยโบราณนั้นก็คือการสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสิ่งยึดเหนี่ยว​ จิตใจ​ เชื่อกันว่า​ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์​ สิงสถิต​อยู่ในนั้น​ ใช้ฝัง​ ต้านฐานอุโบสถ​ หรือ​ ศาสนสถาน​ สถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา​
เชื่อในเรื่อง​ป้องกันสิ่งชั่วร้ายและสิ่งอัปมงคลทั้งปวง รวมถึงโจรผู้ร้ายที่คิดจะมาขโมยของในวัดเมื่อมีขโมยหรือสิ่งผิดปกติเข้ามาปรอทกรอก็จะส่งเสียงดัง...

ความเชื่อด้าน​ กลยุทธ์​ ทางการศึกการสงคราม​

อีกในหนึ่ง​ จุดประสงค์​ คนโบราณ​ การจัดสร้าง​

ปรอทกรอ​ มักใช้ในกลศึก​ เป็น​ เครื่องมือ​ หรือ​ เครื่อง​ราง​เตือนภัย​ ในยุคสงคราม​ ปรอทกรอจะทำหน้าที่​ "สั่น​ " เมื่อมีภัยเข้ามาประชิด​

ปรอทกรอ​ สั่นสะเทือน​ได้ไหลลื่นเสียงดังยาว​ แปลว่า : ข้าศึกมีจำนวนค่อนข้างเยอะ​ และเข้าประชิดใกล้เข้ามามาก

ปรอทกรอสั่นเสียง​ไม่ดังมาก​ แปล​ว่า​: ข้าศึกมีจำนวนค่อนข้างน้อย​ และอยู่​ไกล
เพื่อเป็น​สัญญาณ​ เตือนภัย​ ว่าข้าศึกมีจำนวนมากหรือน้อย​ หรือ​อยู่ไกลหรือใกล้.. นั่นเองครับ

จากคำบอกเล่า​ จากชาวบ้าน, ผู้เฒ่าผู้แก่​ ชาวล้านนา​ และ หลากหลายสถานที่

หยิบยก​มาเขียน​มาเพื่อเล่าสู่กันฟัง​ กันน่ะครับ..

ปรอทกรอ​ภายในลูกปรอทกรอนั้นว่ากันว่าเป็นของวิเศษกายสิทธิ์จำพวกเหล็กไหล หรือปรอทเรียก หรือ ปรอทสำเร็จ ที่พระอาจารย์ผู้เรืองวิทยาคมได้เอาเป็นส่วนผสมของลูกกลมเล็กๆด้านในปรอทกรอ โดยนำเอามาหุงและหล่อเป็นลูกปรอทกายสิทธิ์ ฉะนั้นเวลาเขย่าปรอทกรอจะมีเสียงคล้ายมีกริ่งอยู่ข้างในปรอทกรอนั่นก็คือลูกกลมเล็กๆที่ว่านี่เอง...

สำหรับที่ค้นพบปรอทกรอนั้น​ ส่วนมากจะพบเป็นเคยเป็นบริเวณวัดเก่า หรือ ที่คนทางเหนือล้านนาเรียกว่า วัดร้าง หรือ วัดห่าง หรือ​ เมืองเก่า​ ที่รกร้าง ศาสนสถาน​ที่สำคั​ญ​..
บ้างจะพบโดยบังเอิญจากการขุดพบจากการขุดที่
ถมที่, ทำการเกษตร​บ้าง, บ้างก็ฝนตกหลายวัน​ ตกหนักๆๆ​ ซะล้างหน้าดินเปิด​ ก็จะพบเจอ​อะไรแนวนี้ครับผม​..
การพบเจอก็​ผ่านกาลเวลา​ ร่วม​ หลายสิบปี​ ที่เจ้าของ​พบเจอมา
และบางท่านก็ได้รับเป็นมรดกตกทอดมาจากปู่ย่าตายาย​ เก็บบูชา​ ​ สืบทอด​ กันมา​จากรุ่นสู่รุ่น จนถึง​ปัจจุบัน​นี้​

อ่า​ ^^^อ่าน พอสนุก​ นะครับ.​ ​^^^

ปัจจัย​ เหล่านี้​ บ่งบอกถึง​ การสร้าง​ ได้เป็น​อย่างดี..

ยุคสมัย​ ที่พบเจอ​ ปรอทกรอ..

– สมัยก่อนสุโขทัย ( ราวพุทธศตวรรษที่ 12 – พุทธศตวรรษที่ 17 )
– สมัยสุโขทัย พ.ศ.1792 – พ.ศ.2006
– สมัยอยุธยา พ.ศ.1893 – 2310
– สมัยธนบุรี พ.ศ.2310 – 2325
– สมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ.2325 ถึงปัจจุบัน

วิธีการใช้ : ใช้ห้อยคอหรือ พกพาติดตัว(ไม่ควรต่ำกว่าระดับเอว) ใส่พานบูชา หิ้งพระ​ หรือ บรรจุบนหัวเสาเรือน

อาณุภาพ : คนสมัยก่อนเชื่อกันว่าปรอทกรอจะนำความร่มเย็นเป็นสุขมาให้ และป้องกันสิ่งอัปมงคลทั้งปวง เตือนเมื่อมีภัย บูชาไว้เป็นสิริมงคลให้ลาภ และคุ้มกันบ้านเรือนและผู้อาศัย เพื่อป้องกันสิ่งชั่วร้ายและสิ่งอัปมงคลทั้งปวง..

(ยกตัวอย่าง)

เมืองโบราณ​ เช่น เมืองหอดโบราณ ตั้ง​ อยู่​ อ.ฮอด​ ​จ.เชียงใหม่​ ตั้งอยู่​ หัวเมืองด้านนอก
ซึ่ง​ ตั้งอยู่​ ไกล​ จาก​ ตัวอำเภอ​ ถึง​ 90​ กม.​
ยิ่งสมัยก่อน​ การคมนาคม​ การเดินทางก็​ ค่อนข้างที่จะลำบาก​ เดินด้วยเท้าบ้าง​, เดินทางด้วยม้าบ้าง​, เดินทางด้วยช้างบ้าง​ การเดินทาง​ค่อนข้างลำบาก​ อะไรประมาณ​นี้​ น่ะครับ... ยิ่งหัวเมืองห่างไกล​ ก็ต้องมีความเจริญ​ ที่น้อยกว่า​ ในเมือง​....
การสร้างปรอทกรอ​ ทั้งวัสดุก่อสร้าง​ หรือ​ ระบบกลไก​
ก็​ จะได้​ ตามนี้​ ..

เราหยิบยกตัวอย่าง​ มา​ แบบ​ เรียบง่าย​ เข้าใจ​ ได้พอสังเขป...

ปรอทกรอ​ มีระบบ​ และ ปรอท​กรอ​แบบไม่มีระบบ​ ต่างกันยังไง

วัดหลายวัด คนโบราณ เชื่อกันว่าหนึ่งวัดได้บรรจุของวิเศษแทนคนรักษาวัดวาอารามของวิเศษนี้ชื่อว่า "ปรอทกรอ" บรรจุไว้ใต้ฐานวิหาร หรือ อุโบสถ "วัดละหนึ่งลูกเท่านั้น" อันนี้พิเศษ​ หน่อย​ ถ้าเป็น​ "วัดหลวง​" วัดที่มีขนาดใหญ่​ ก็จะมีด้วยกัน​ 4​ ลูก​, 6ลูก​ ด้วยกัน​ ครับผม..หรือศาสนสถาน​ ที่สำคัญ​ทางศาสนา​ แต่ละสถานที่​ มีฝัง​ ไม่สามารถ​ ระบุได้​ ว่ามี​ กี่ลูก..
เพราะว่า​ บางหัวเมืองที่ห่างไกล​ , บางเมืองใกล้ บางเมือง​ เล็ก​, ใหญ่​ ไม่เท่ากัน​ ขึ้นอยู่กับ​ นี้ปัจจัย​ เหล่านี้ด้วย....

คนสมัยโบราณทางด้าน​ ศาสนา​ เชื่อกันว่ามีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกป้อง
เช่น​ เทพ, เทพารักษ์​, เทวดา​, เหล็กไหล, ปรอทสำเร็จ, บ้างก็เล่ากันนั่นนี่​ หลากหลาย​ ต่างๆ​ นานา​...
จนผม​ ผู้เขียน​ ถ้าเขียน​ไป​ เดี๋ยว​หาว่า over​ ไปป่ะ​ 555..
เอาเป็นว่า​ เชื่อว่า​ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์​ ในปรอกรอ​ นั้น​ น่ะครับ

คนโบราณจึงเชื่อกันว่ามีสิ่งวิเศษของดีปกป้องภัย เช่น กันภูตผีปีศาจร้าย กันขโมย สร้างความร่มเย็นเป็นสุขแก่ศัทธาลูกวัด ตามความเชื่อแต่ครั้งโบราณ เป็นต้น
สันนิษฐานว่าน่าเป็น "ของวิเศษใช้ปกป้องคุ้มครองภัย"

วัสดุที่พบเจอ​ แบ่งเป็นแต่ละชนิดๆ ดังนี้

1. ปรอทกรอทองคำ
2.ปรอทกรอเนื้อเงิน
3.ปรอทกรอสำริดแก่ทองคำ
4.ปรอทกรอเนื้อสำริด
5.ปรอท​กรอ​เนื้อตะกั่ว
6.ปรอท​กรอเนื้อดินเผา(พบเห็น​น้อยมาก)

และแบ่งเป็นขนาดๆ ที่พบเห็น คือ

1.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 2เซนติเมตร
2.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด1นิ้ว
3.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด1นิ้วครึ่ง
4.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด2นิ้ว
5.เส้นผ่าศูนย์กลาง​ขนาด​ 2นิ้วครึ่ง​(พบเห็นน้อยมาก)

การสร้างปรอทกรอ คนโบราณสร้างกลไกที่สุดยอดที่คนปัจจุบันสร้าง ที่ทำเลียนแบบไม่ได้

ปรอทกรอที่เสียงดังไหลลื่น คือ ปรอทกรอที่ไม่ตายจะมีเสียงดังดีไหลลื่นตลอดเป็นเวลานานๆ ส่วนมากแผ่นการเวลามานานบวกกับสภาพผิวของเมืองหรือวัดบางที่อาจสร้างอยู่ลุ่มน้ำ ทำให้แช่น้ำเป็นเวลานานๆ หรือขึ้นอยู่กับสภาพผิวดินในแต่ละที่ๆ เสียงดังไม่ดี เมืองที่มีความเจริญมาก เช่น "วัดหัวเมือง" ก็จะสร้างปรอกรอ เช่น ปรอทกรอทองคำ รองมาเป็นระดับๆ จนถึงปรอทกรอดินเผาซึ่งพบเห็นน้อยที่สุดมีก็ไม่สมบูรณ์ ข้อมูลความรู้จากนักสะสมของเก่า​ และชาวบ้าน​ คนเฒ่าคนแก่ในพื้นที่​ ชาวล้านนา.. นำมาเล่าสู่กัน​ฟัง​

ปรอทกรอเป็นเครื่องรางของขลังยุคโบราณที่หายากมากชนิดหนึ่งมีสร้างขึ้นตั้งแต่​ หลายยุคสมัย​ อีกทั้งยังถือเป็นยุทธโธปกรณ์ทางการทหารในสมัยโบราณ​ และความเชื่อทางด้านศาสนา​ อีกด้วย

ปัจจุบันเป็นเครื่องราง"เตือนภัย" แก่ผู้เป็นเจ้าของ และป้องกันสิ่งชั่วร้ายสิ่งอัปมงคลต่างๆ ทั้งยังเด่นด้านเมตตา​มหา​นิยม​และนำโชคลาภความร่มเย็นเป็นสุขแก่ผู้ครอบครอง

ปล.ชิ้นนี้​ ได้มีผู้ศรัทธา​แบ่งไปบูชาแล้วครับ
เราหยิบ​ยกมา​หวังว่า​ ท่านผู้อ่านจะได้ประโยชน์​ไม่มากก็น้อยครับ​

"รูปภาพ"​ หรือ​ "บทความ​" นี้ทาง​ร้าน​ไม่​อนุญาติ​ให้​นำไปใช้​โดย​ "พลการ​"

บทความนี้​ เราหยิบยก​ มาเล่าเรื่อง​ แชร์​ ประสบการณ์​
เพียงแค่​ บางส่วน​ เอาไว้​ โอกาสหน้า​ เราจะมาแชร์​ให้ใหม่ครับ

ผู้เขียน​ และ​ ค้นคว้าข้อมูล
ตู่​ สาละ​วิน

ราคาปัจจุบัน
Tou​ Salawin​
จำนวนผู้เข้าชม
9070 ครั้ง
สถานะ
โชว์พระ
โดย
ชื่อร้าน
ตู่ สาละวิน
URL
เบอร์โทรศัพท์
0869210433
ID LINE
0869210443
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารทหารไทย / 322-2-62235-3




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี